Phaya Phichai Daabhak プラヤー・ピチャイダープハック พระยาพิชัยดาบหัก
Phaya Phichai Daabhak プラヤー・ピチャイダープハック พระยาพิชัยดาบหัก
Uttaradit ウタラディット จังหวัดอุตรดิตถ์
พระยาพิชัยดาบหัก ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีชื่อเสียงอย่างยิ่งในชั้นเชิงการต่อสู้ ทั้งมือเปล่าแบบมวยไทย และอาวุธแบบกระบี่ กระบอง เดิมชื่อ จ้อย เกิดที่บ้าน ห้วยคา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เมื่อปี พ.ศ. 2284 ในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา ศึกษาอยู่กับท่านพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ่ เมืองพิชัย ภายหลัง จ้อยได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นทองดี หรือ ทองดีฟันขาว มีความสามารถทั้งทางเชิงมวยและเชิงดาบ
เข้ารับราชการกับสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่ครั้งดำรงตำแหน่งเป็นพระยาตาก ต่อมานายทองดีได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์มีบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงพิชัยอาสา” เมื่อรับราชการมีความดีความชอบจึงได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ พระยาสีหราชเดโช และพระยาพิชัย ผู้สำเร็จราชการครองเมืองพิชัย ซึ่งรับพระราชทานเครื่องยศเสมอเจ้าพระยาสุรสีห์ ตามลำดับ
ภายหลังข้าศึกยกทัพมาตีเมืองพิชัย 2 ครั้ง ในการรบครั้งที่ 2 พระยาพิชัยถือดาบสองมือออกต่อสู้จนดาบหักไปข้างหนึ่ง และรักษาเมืองไว้ได้ ดังนั้นจึงไดัรับสมญานามว่า “พระยาพิชัยดาบหัก”
Phaya Phichai Daabhak was a Siamese general serving under King Taksin. After the fall of Ayudhya in 1767, Phraya Pichai and Chao Phraya Chakri (who later become the first King of Chakri Dynasty) followed Phraya Taksin in repelling the Burmese and reuniting Siam. They were considered Phraya Taksin’s left and right hands.
In 1782, King Taksin showed signs of mental illness. At that time, the nation still lacked stability and was in need of a strong ruler. King Taksin was disposed and later executed following a coup, after which Chao Phraya Chakri took the throne. Phraya Pichai, a devout follower of King Taksin, was not spared, and by most account, requested for his own execution to follow King Taksin to his death. He was executed soon after.
He gained the name Phraya Phichai Dabhak or Phraya Pichai Broken Sword in a battle in which he kept fighting (and won) even after one of his blades was broken in half.
プラヤー・ピチャイダープハック 本名はチョーイ。前述のピチャイ出身。幼い頃から古式ムエタイ、拳法、剣術など数々の武芸を学び、地元にて一目置かれる存在となるが、これが当時タイを支配していたトンブリー王朝の君主、タークシン王の目に止まり、トンブリー王朝に仕官するようになる。この後、ピチャイの国主となり、プラヤー・ピチャイと呼ばれる。
この後一時、カムペーンペットに移りビルマ軍の進行に対する防衛に当たった。後の、アユタヤでのビルマ軍との衝突では、持ち前の武芸の才能を生かし敵に自ら突進し敵を数多く切ったが、このとき刀が折れるほど多人数を切ったため、勲功に感心したタークシンからダープハック(刀破り)と名付けられた。このあだ名と、プラヤー・ピチャイを合わせてプラヤー・ピチャイダープハックと呼ばれる。
プラヤー・ピチャイダープハックはビルマのタイ国内からの追い出しが済むと、ピチャイに戻り北部の防衛に努めていたが、1782年にはタークシン王がラーマ1世に殺されるという事件が起こる。新たな王となったラーマ1世はプラヤー・ピチャイダープハックに服従を求めたが、プラヤー・ピチャイダープハックは「二人の王の奴隷にはならず、二人の主人の召使いにはならない」と吹聴し、タークシンのみへの服従を示し、ラーマ1世に自ら死刑を願い出た。
この後チャオプラヤー・ピチャイダープハックは処刑された。しかし、刀を折るほどの猛将ぶり、死刑を願い出た美談は地元ピチャイを中心に語り継がれ、タイでもっとも忠義の人物とさえ言われるようになった。
Refer https://en.wikipedia.org/wiki/Phraya_Phichai
参照する https://ja.wikipedia.org/wiki/プラヤー・ピチャイダープハック
อ้างอิง https://th.wikipedia.org/wiki/พระยาพิชัยดาบหัก
วิธีการเดินทาง : –
によって : –
Travel by : –
คะแนนความน่าสนใจ / Interest Point /興味がある点 : 4/10
GALLERY
photo on 写真の日付 รูปภาพเมื่อวันที่ 6/29/2016